การละเล่นเด็กไทย
การละเล่น
หมายถึง การกระทำหรือกิจกรรมใด ๆ ที่ก่อให้เกิดความสนุกสนานรื่นเริงบันเทิงใจ ซึ่งมักมีกติกาการเล่นหรือการแข่งขันง่าย ๆ ไม่สลับซับซ้อนมากนัก
หมายถึง การกระทำหรือกิจกรรมใด ๆ ที่ก่อให้เกิดความสนุกสนานรื่นเริงบันเทิงใจ ซึ่งมักมีกติกาการเล่นหรือการแข่งขันง่าย ๆ ไม่สลับซับซ้อนมากนัก
จุดประสงค์ส่วนใหญ่ มุ่งเพื่อให้เกิดความสนุกสนาน เพื่อออกกำลังกาย และก่อให้เกิดความสามัคคีทั้งระหว่างผู้เล่นและผู้ชม
กติกาอาจกำหนดขึ้นไว้ก่อนและเคยปฏิบัติมาแล้วหรือ ตกลงกันตั้งขึ้นขณะจะเริ่มเล่นก็ได้ คือ ไม่ค่อยพิถีพิถันในเรื่องกติการมากนัก
การละเล่นของเด็กไทยมากมากมาย เช่น
จ้ำจี้
จำนวนผู้เล่น
| |
ผู้เล่นจะมีจำนวน 3-4 คน
| |
วิธีเล่น
| |
ผู้เล่นจะวางมือบนพื้น แล้วเด็กคนแรกเป็นคนชี้นิ้วไปเรื่อยๆ พร้อมกับร้องเพลง “จ้ำจี้มะเขือเปาะ” เมื่อร้องจบแล้วนิ้วชี้ไปตกที่นิ้วของใคร คนนั้นจะต้องหดนิ้วไว้ในอุ้งมือ จากนั้นก็เริ่มร้องเพลงต่อไปเรื่อยๆ สุดท้ายนิ้วใครขาดหายไปมากที่สุดจะถือว่าเป็นผู้แพ้
| |
เพลงประกอบ
| |
จ้ำจีมะเขือเปราะ
พายเรืออกแอ่น สาวๆ หนุ่มๆ อาบน้ำท่าวัด เอากระจกที่ไหนส่อง |
กะเทาะหน้าแว่น
กระแท่นต้นกุ่ม อาบน้ำท่าไหน เอาแป้งที่ไหนผัด เยี่ยมๆ มองๆ นกขุนทองร้องฮู้ |
ประโยชน์ของการละเล่น
1. เป็นการช่วยบริหารร่างกายให้สมบูรณ์แข็งแรง
2. เป็นการส่งเสริมให้เกิดความสามัคคี รักหมู่คณะ
3. เป็นการส่งเสริมการริเริ่มสร้างสรรค์
4. เป็นการฝึกปฏิญาณไหวพริบ
5. เป็นการสร้างเสริมในด้านขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของท้องถิ่น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น